วันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2552

TDH strange noise during climb


To OS B734

From OE-T B734

11 กันยายน 2552


เรื่อง ขออนุญาติให้นักบินเก็บข้อมูลการบินเนื่องจากปัญหาเสียงผิดปกติระหว่างทาการบินกับเครื่องบิน HS-TDH

เนื่องจากกระผมได้รับรายงานหลายครั้งจากนักบินเกี่ยวกับเสียงผิดปกติที่เกิดขึ้นระหว่างทาการบิน กับเครื่องบิน HS-TDH กระผมได้สอบถามไปทางฝ่ายช่างเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว ฝ่ายช่างแจ้งว่าไม่สามารถ แก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ เนื่องจากขาดข้อมูลที่เพียงพอ จึงขอความร่วมมือจากนักบิน B734 ที่ทาการบินกับ เครื่องบิน HS-TDH เมื่อพบปัญหาดังกล่าว ขอให้ลง complaintใน Flightdeck log และกรุณาจดบันทึกข้อมูลลง ในใบบันทึก ซึ่งจะใส่ไว้ใน Miscellaneous file โดยขอให้บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับ

1. Flight number วันที และเวลา(UTC)ที่เกิดเหตุการณ์

2. ระบุตาแหน่งที่เกิดเสียง และลักษณะของเสียง

3. Cabin altitude ในขณะนั้น

4. Differential pressure ในขณะนั้น

5. ระยะสูงของเครื่องบิน ในขณะนั้น

6. Phase of flight (climb,cruise,descent)


เมื่อได้รับข้อมูลที่เพียงพอแล้ว จะได้นาส่งทางฝ่ายช่าง เพื่อประกอบการพิจารณาแก้ไขปัญหา ดังกล่าวต่อไป จึงเรียนมาเพื่อกรุณาดาเนินการ

( คำปัน แก้วน้อย )

B734 OE-T/U NEWS 01/2009


B734 OE-T/U NEWS 01/2009

12 SEP 09

1.ขอความร่วมมือ ช่วยกันลงlog เมื่อพบว่า มีความบกพร่องเกี่ยวกับเครื่องบิน เพื่อให้ทางช่างสามารถtroubleshoot ให้กลับมาปกติให้เร็วที่สุด

2.ช่วยกันตรวจสอบ Flightdeck log โดยเฉพาะ FDD ( HOLD ITEMS) ว่า สมควรที่จะอยู่ในFDD หรือไม่ เนื่องจาก บางครั้งที่เกิดปัญหากับเครื่อง แต่ทางช่างไม่มีเวลาtroubleshoot จึงต้องใส่ไว้ใน FDD ถ้าพบว่าcomplaints ดังกล่าวไม่ aircraft airworthy ต้องแจ้งให้ทาง LAE ทราบ เพื่อที่จะแก้ไข แต่ในกรณีที่นักบินชุดก่อนลง log ที่ท่านคิดว่า เป็นเพียง minor snags แล้วทางช่างจับเข้า FDD โดยมิได้ลอง troubleshoot ดูก่อน ขอให้นักบิน monitor ดูอาการดังกล่าวอีกครังว่า ยังมีอาการเดิมอยู่หรือไม่ และถ้าอาการดังกล่าวได้หายไปแล้ว ขอให้ช่วยลง log เป็น information กับช่างว่า อาการดังกล่าวได้หายไปแล้ว ขอให้ทาง LAE ช่วย removeออกจาก FDD ด้วย

3.การเขียน complaints ลงใน Flightdeck log ขอให้เขียนรายละเอียดให้มากที่สุดเกี่ยวกับอาการที่เกิด เพื่อช่วยให้ทางช่างสามารถแก้ไขปัญหาได้ถูกจุดยิ่งขึ้น

4.กรณีที่เครื่องยนต์ accelerateไม่เท่ากันในช่วง takeoff มีหลักในการพิจารณาดังนี้ กล่าวคือ ถ้าการเร่งจาก low idle ไปยัง 40%N1 สองเครื่องยนต์ต้องใช้เวลาแตกต่างกันไม่เกิน 4 seconds และจาก 40%N1ไปยังtarget takeoff thrust จะต้องแตกต่างกันไม่เกิน 2 seconds ถ้าท่านตรวจพบอาการดังกล่าว ขอให้ลง log เพื่อที่ทางช่างจะได้ปรับแก้ให้อยู่ภายใน limit ดังกล่าว โดยจะปรับค่า specific gravity ในMEC(Main engine control)

5.เนื่องจากปัญหาเสียงประหลาดที่เกิดขึ้นในระหว่างไต่ กับเครื่อง HS-TDH ขอความร่วมมือจากนักบินทุกท่านที่ทาการบิน แล้วพบอาการดังกล่าว ลงcomplaints ใน Flightdeck log และบันทึกรายละเอียดลงในใบบันทึกเหตุการณ์ที่จัดไว้ให้ในMiscellaneous file แล้วให้co-pilot ช่วยนาใบบันทึกดังกล่าวมาใส่ไว้ในBOX ของ FC MAHESAK W.#29440 เพื่อที่จะได้รวบรวมข้อมูลดังกล่าวส่งให้ทาง TE investigate และ troubleshoot อาการดังกล่าวต่อไป

6.ขอขอบคุณ FC KOMSAN, FC SURACHAI, FC CHOLLAVITCH และ FP JAKRAPAN สาหรับความร่วมมือในการที่ทาง OE ขอสลับไฟลท์บินกับนักบินทดสอบ ทาให้การทดสอบเครื่องเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

7. HS-TDF มีกาหนดจะเข้า C-CHECK เป็นลาต่อไป จึงขอความร่วมมือจากทุกท่าน postข้อมูลทางเทคนิคที่เป็นปัญหาของเครื่องที่ท่านต้องการให้แก้ไข โดยทาง OE-T/U B734 ได้จัดเตรียมใบบันทึกข้อมูลไว้บนบอร์ดของB734 ที่Dispatch

8. For your information ในกรณีของ APU Bleed loss on ground (TDJ) เราสามารถ reset ให้bleed กลั้บมาได้โดยไม่ต้องดับ APU วิธีการที่ทางช่างทาก็คือ ไปที่ APU FADEC BOX ที่ติดตั้งอยู่ที่ผนังด้านขวาของ AFT CARGO แล้วปฏิบัติดังนี้

กดปุ่ม FAULTS ที่ display จะเปลี่ยนเป็นคาว่า CLR FLTS

กดปุ่ม MAINT ที่ display จะเปลี่ยนเป็นคาว่า PRESENT?

กดปุ่ม FAULTS ที่ display จะเปลี่ยนเป็นคาว่า ALL?

กดปุ่ม MAINT ที่ display จะเปลี่ยนเป็นคาว่า ERASE?

กดปุ่ม MAINT ค้างไว้ประมาณ3 seconds จนคาว่า RUN ปรากฏขึ้นมา

9. ทาง OE-T/U B734 ได้ประสานงานกับทาง OU performance เพื่อขอให้ Update GWC โดยได้ขอให้จัดทา Improved climb จาก Takeoff intersection ที่ VTBS เพิ่มเติมจากเดิมที่คิดจาก full length นอกจากนี้ยังได้ขอให้ทาง OU จัดทา improved climb และ engine bleed off takeoff GWC ของสนามบินVARANASI ซึ่งจะทาให้เราได้ Max takeoff weight มากขึ้น สามารถสั่ง Ramp fuel เพิ่มได้อีก ขณะนี้ได้ส่งไปให้โรงพิมพ์ดาเนินการแล้ว

10. ในกรณีที่วิ่งขึ้นจาก VTBS ขอให้พิจารณาใช้ Improved climb takeoff เนื่องจากจะช่วยลด maintenance cost ได้มาก จากข้อมูลที่ทาง OE-T/U ได้สอบถามไปทาง BOEING ได้คาตอบว่า ถ้าใช้ Assumed temp เพิ่มขึ้น 1 degree จะช่วยลด Average maintenance cost ได้ถึง 20 USD เพราะเครื่องยนต์จะสึกหรอช้าลงเนื่องจากใช้ Takeoff thrust น้อยลงในการวิ่งขึ้น

11. ได้ดาเนินการปรับปรุง Drag/Fuel flow ของเครื่อง B734 แล้ว จะช่วยให้ TAFS แสดงข้อมูลfuel ที่ถูกต้องมากขึ้น ขอขอบคุณ FC CHOLLAVITCH N. ที่ช่วยประสานงานกับทางOU


วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2552

734 homemade procedure for SAMUI operations

ผมขอเสนอว่า เราควรจะมีhomemade procedure สำหรับsamui operations เพื่อให้มีแนวทางการบินคล้ายๆกันในฟลีท อย่างน้อยก็เป็นอ้างอิงให้กับนักบินใหม่ที่เข้ามาjoin 734 ผู้ใดเห็นด้วย ช่วยpost vote ให้หน่อยนะจ๊ะ แล้วขอcomment ด้วยครับ
ข้อสรุปจากการประชุมsafety talk วันที่7 กันยายน 2552

1.ควรจะมีhomemade procedure สำหรับการบินไป samui เพื่อให้มีแนวทางในการปฏิบัติที่ใกล้เคียงกันสำหรับนักบินในฟลีท ทั้งนี้เราจะพิจารณาตามความเป็นจริง ไม่อ้างอิงกับrule and regulation ทั้งหมด เนื่องจากสนามบินไม่มีมาตรฐาน แต่ยึดถืออยู่กับ safety , stabilized approach และ ความง่ายในการปฏิบัติ

2.ปัญหาที่พบในการบิน

2.1 ATC ที่สมุยมักจะclearedให้cross final course runway17 แล้วให้กลับเข้ามาfinal ในกรณีที่เครื่องที่อยู่บนrunwayต้องการจะวิ่งขึ้น runway 17 ทำให้นักบินต้องเข้าไปอยู่ในพื้นที่ที่ไม่ปลอดภัย ต้องบินอยู่ภายใน mountaineous area โดยไม่จำเป็น

2.2 procedureในการทำvisual approach ทั้งสองrunway นักบินแต่ละท่าน ทำไม่เหมือนกัน รวมถึงprocedureในกรณีที่ไม่สามารถจะ continue approach ได้ ก็ยังคลุมเครือ navaids setting สำหรับการทำvisual approach และการ go-around ก็ไม่มี ส่วนใหญ่จะคิดกันเอง

3.ข้อเสนอแนะ

3.1 ในกรณีที่ ATC สั่งให้ cross final runway 17 เพื่อเปิดทางให้เครื่องวิ่งขึ้น เราควรจะmaintain sector altitude แล้วขอ cross final runway 17 แล้วออกไป intercept outbound radial 335 ไปhold ที่ประมาณ 10 DME แล้วค่อยinboundเข้ามาทางradial 335 จนถึง 8 DME แล้วturn left เข้าหา 4 nm on final course

3.2 ในกรณีที่อากาศไม่ดี แต่ต้องลงrunway 35 ให้ขอบินมาover VOR ที่ความสูง sector altitude แล้วoutbound radial 120 ออกไปประมาณ8-10 nm แล้ว turn right to intercept radial 150 inbound จนถึง 5 DME แล้ว turn left to 3 DME on final course runway 35

3.3 ถ้าต้อง missed approach จาก runway 35 ให้ออกทาง radial 335 แล้วไต่ไปหา sector altitude แล้วขอhold ที่ 10 nm

3.4 การset minima สำหรับการทำ visual approach ควรจะset 500'RH เนื่องจากเราจะอ้างอิงกับการstabilized approach ก่อน 500' RH สำหรับการทำ visual

3.5 การทำvisual approach runway17 ให้ทำFMC เข้ามาที่8nm radial 020 inbound จากนั้นturn right ไปที่4nm final โดยที่ต้อง full configuration ก่อน 4nm final

3.6 ในกรณีที่อากาศดี จะทำapproach runway 35 ให้เริ่มbreak เข้า right downwind ตั้งแต่ 10 nm on radial เพื่อไม่ให้downwind ตีบเกินไป โดยเข้า downwind ขนาน runway แล้ว modify FMC ให้เลี้ยวเข้า right base ไปตามradial 150 inbound จนถึง5nm แล้วบินเข้าหา 3nm on final เพื่อลดปัญหาการเกิด GPWS WARNING

3.7 ในกรณีที่มีเครื่องบินลงสมุยในเวลาใกล้เคียงกัน โดยที่เราเป็น number two for landing on both runway เราควรจะจัดseparation โดยตัวเอง ให้ห่างจากตัวหน้าประมาณ 40 nm หรือ 8 นาที เพื่อให้เวลาตัวหน้า ทำ backtrack on the runway

วันเสาร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2552


เชิญนักบิน734 และพี่น้องนักบินทุกท่าน ร่วมเตะบอล7 คน พบกันที่ สนามฟุตบอลตุงตาข่าย ซอยลาดพร้าว18 วันที่ 21 กันยายน เวลา1700-1800 สอบถามทางได้ที่ มเหศักดิ์ 081-8143137 พี่แป๊ะ athasit 081-8129106
เบอร์สนาม 02-5133425


วันศุกร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552

ขอเชิญนักบิน734 และสมาชิก workshop b734 ที่จะเข้าประชุมในบ่ายวันที่21 กันยายน นี้ เชิญเตะบอลเชื่อมสามัคคีหลังเลิกประชุม กรุณานำชุดกีฬาไปประชุมด้วยครับ